
82 Courses 7 Categories
Modified 23 June 2020
Modified 23 June 2020
Modified 23 June 2020
Modified 23 June 2020
Modified 23 June 2020
Modified 23 June 2020
Modified 23 June 2020
Faculty of Pharmacy
Faculty of Pharmacy
วิเคราะห์กรอบแนวคิด คาถาม และสมมติฐานการวิจัยเภสัชภัณฑ์ รูปแบบการวิจัย การออกแบบการวิจัยเน้นที่การวิจัยเชิงทดลองในการพัฒนาเภสัชภัณฑ์ ชนิดของผลลัพธ์ของการวิจัย การวัดตัวแปรที่เหมาะสมกับสมมุติฐานและรูปแบบการวิจัย การบันทึกและจัดการข้อมูลโดยใช้หลักสถิติที่เหมาะสม ในการประเมินและสรุปผลการวิจัย การวิพากษ์งานวิจัย และเผยแพร่งานวิจัย
Faculty of Pharmacy
เน้นเนื้อหาเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี อิมมูโนกลอบุลินส์ คอมพลีเมนต์ การตอบสนองของร่างกาย โรคภูมิแพ้ การแพ้สารเคมี โรคที่เกิดจากออโตอิมมูนและอิมมูนคอมเพลกซ์ เภสัชผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกายและผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการตรวจสอบภูมิคุ้มกัน
Faculty of Pharmacy
Faculty of Pharmacy
Faculty of Pharmacy
ปฏิบัติการจากสถานการณ์จำลองการเลือกยา การจัดเตรียมยา การเขียนฉลากยา ตรวจสอบความถูกต้อง การแนะนำการใช้ยาและยาเทคนิคพิเศษ และผลิตภัณฑ์สุขภาพในผู้ป่วย ที่เน้นการพิจารณาสภาวะทางคลินิกโรคหวัด ไอ เจ็บคอ และไข้ และคัดกรองผู้ป่วยเสี่ยงส่งต่อไปยังสถานพยาบาล รวมถึงมีแนวคิดการให้บริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยที่รับบริการติดตามดูแลรักษาที่บ้าน (Home pharmaceutical care) โดยคำนึงถึงหลักการเลือกใช้ยาอย่างสมเหตุผล และอภิปรายกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณและกฎหมายวิชาชีพ
Faculty of Pharmacy
การบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และร้านยา โดยสามารถรวบรวมข้อมูลจากผู้ป่วย เวชระเบียนผู้ป่วย แปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลตรวจร่างกายและการวินิจฉัยโรคของแพทย์โดยระบุ แก้ไข/บรรเทา และป้องกันปัญหาที่เกี่ยวกับการใช้ยาในผู้ป่วยแต่ละราย มีแนวคิดเกี่ยวกับระบบความปลอดภัยด้านยา (medication safety system) การทบทวนและประเมินการใช้ยา และการใช้ยาสมเหตุผล
Faculty of Pharmacy
กระบวนการเลือกและแนะนำการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในผู้ป่วย ที่เน้นการพิจารณาสภาวะทางคลินิกในโรคพื้นฐาน แนวทางการเลือก การคัดกรองผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงส่งต่อไปยังสถานพยาบาล การจัดเตรียม ตรวจสอบความถูกต้อง ส่งมอบ และติดตามการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในร้านยา โรงพยาบาล และสถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ รวมถึงผู้ป่วยที่รับบริการติดตามดูแลรักษาที่บ้าน (Home pharmaceutical care) โดยคำนึงถึงหลักการเลือกใช้ยาอย่างสมเหตุผล และมีแนวทางการปฏิบัติที่สอดคล้องกับจรรยาบรรณและกฎหมายวิชาชีพ
Faculty of Pharmacy
รวบรวมคลิปความรู้พื้นฐานและทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพเภสัชภัณฑ์
Faculty of Pharmacy
Faculty of Pharmacy
ภภน 644 โครงงานวิจัยด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม 2
โครงงานวิจัยทางเภสัชศาสตร์ต่อเนื่องจากวิชาโครงงานวิจัยด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม 1
Faculty of Pharmacy
บูรณาการความรู้ทางเภสัชวิทยา เทคโนโลยีเภสัชกรรม เภสัชเคมี เภสัชจลนศาสตร์ สมุนไพร จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมายยามาประยุกต์ในผู้ป่วยและประชาชนทั่วไป อภิปรายกรณีศึกษายาความดันโลหิตสูง ยาปฏิชีวนะ และการประเมินอาการไม่พึงประสงค์ มีทัศนคติที่ดีต่อการมีปฏิสัมพันธ์และความรับผิดชอบของเภสัชกรต่อบุคคลอื่น ผู้ป่วย ญาติ บุคลากรทางการแพทย์อื่น
Faculty of Pharmacy
ศึกษาวิธีเตรียมน้ำยาผสมที่ให้ทางหลอดเลือดดำ (IV admixture) ยามะเร็ง (Cytotoxic chemotherapy) และสารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำ (parenteral nutrition) สำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย เพื่อให้น้ำยาผสมและสารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำมีความคงสภาพ สามารถคำนวณปริมาณสารอาหาร และแร่ธาตุ ตามสภาพของผู้ป่วย และความต้องการทางการแพทย์ ศึกษาปัญหาในการเตรียมน้ำยาผสมที่ให้ทางหลอดเลือดดำ โดยเฉพาะความคงสภาพและอันตรกิริยาระหว่างยา ในผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำจะศึกษาครอบคลุมถึงปัญหาที่เกี่ยวกับการเลือกตัวยา รูปแบบยา และวิธีการให้ยาที่เหมาะสมเมื่อผู้ป่วยต้องใช้ยา เพื่อให้ได้ประโยชน์และมีความปลอดภัยจากยาสูงสุด
Faculty of Pharmacy
วิธีเตรียมน้ำยาผสมที่ให้ทางหลอดเลือดดำ (IV admixture) และยาเคมีบำบัด (Cytotoxic chemotherapy) สำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย โดยน้ำยาผสมที่ให้ทางหลอดเลือดดำและยาเคมีบำบัดมีความคงสภาพเหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วย และความต้องการทางการแพทย์ และวิเคราะห์ปัญหาในการเตรียมน้ำยาผสมที่ให้ทางหลอดเลือดดำและยาเคมีบำบัด โดยเฉพาะความคงสภาพ ความเข้ากันได้ของยาเตรียม วิธีการให้ยา อันตรกิริยาระหว่างยา ภาวะแทรกซ้อน จากการให้ยาและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการให้ยา
Faculty of Pharmacy
Faculty of Pharmacy
Faculty of Pharmacy
การเลือก การจัดเตรียม ตรวจสอบความถูกต้อง ส่งมอบ การให้คำปรึกษาและติดตามผลการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำหรับโรคที่พบบ่อยในร้านยา และสถานบริการสุขภาพปฐมภูมิ รวมถึงในผู้ป่วยที่รับบริการติดตามดูแลรักษาที่บ้าน (home pharmaceutical care) โดยประยุกต์ความรู้ทางพยาธิสรีรวิทยา เภสัชวิทยา และศาสตร์ต่างๆ ทางเภสัชกรรม มาใช้ในการดูแลสุขภาพผู้รับบริการ โดยคำนึงถึงหลักการเลือกใช้ยาอย่างเหมาะสม และมีแนวทางการปฏิบัติที่สอดคล้องกับจรรยาบรรณและกฎหมายวิชาชีพ