สคศ101 ความรู้เบื้องต้นทางสังคมศาสตร์
คำอธิบายรายวิชา
ความรู้พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ในการทำความเข้าใจและอธิบายสังคมในปัจจุบันโดยมุ่งเน้นการศึกษาสังคมในมิติทางสังคมวิทยา ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์และการศึกษา
วัตถุประสงค์ของรายวิชา
รายวิชา สคศ101 ความรู้เบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ เป็นรายวิชาแกนของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สำหรับหลักสูตรที่มีการปรับปรุงและเปิดสอนในปีการศึกษา 2567 เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้และความเข้าใจลักษณะของสังคมในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสังคมวิทยา ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ กฎหมาย และการศึกษา ซึ่งเป็นความรู้พื้นฐานในการนำไปต่อยอดในการเรียนรู้รายวิชาอื่น ๆ ในหลักสูตรต่อไป
นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความรับผิดขอบต่อตนเอง (Resposability) พัฒนาตนเองในการแสวงหาองค์ความรู้ (Inquiry Based) และเพื่อกำกับการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Diredted Learning)
ผลลัพธ์การเรียยนรู้ที่คาดหวัง (Course learning outcomes)เมื่อผู้เรียนดำเนินการเรียนรู้ด้วยตนเองในรายวิชา สคศ101 ความรู้เบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ จบเนื้อหาทั้งหมดแล้ว ผู้เรียนสามารถอธิบายความรู้เบื้องต้นทางสังคมศาสตร์ในมิติต่าง ๆ ได้
ZSS072 Travel with Geography (เที่ยวไปกับภูมิศาสตร์)
ความสัมพันธ์และอิทธิพลภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการท่องเที่ยว วิชาเลือกเสรี online
ZSS072 Travel with Geography (เที่ยวไปกับภูมิศาสตร์)
ความสัมพันธ์และอิทธิพลภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการท่องเที่ยว วิชาเลือกเสรี online
INTRODUCTION TO PHYSICAL GEOGRAPHY
ปฎิสัมพันธ์ระหว่างธรณีภาค อุทกภาค บรรยากาศภาค และชีวภาค ต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก เพื่อการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา
GEO219 - Digital Photogrammetry
SOC113 Issues on Social Sciences for Sustainable Development
สคศ113 ประเด็นทางสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2(2-0-4)
สังคมพหุวัฒนธรรม (เชื้อชาติ ศาสนา ช่วงวัย เพศ) เศรษฐกิจการเมืองการปกครอง: รูปแบบการเมืองการปกครองของโลก ธรรมาภิบาล การจัดการระดับโลก การจัดการนโยบายโลกในบริบทสังคมไทย (เศรษฐกิจ สังคม การเมือง) การจัดการสิ่งแวดล้อม: แนวทางการจัดการและความร่วมมือ (ภูมิศาสตร์) กฎหมายกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ประวัติศาสตร์กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
SOC112 : Human Society in Digital World
สคศ112: สังคมมนุษย์ในโลกดิจิทัล 2(2-0-4)
การศึกษาพัฒนาการการเปลี่ยนแปลงสู่โลกดิจิทัล สังคมในโลกยุคดิจิทัล ความมั่นคงทางดิจิทัล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับดิจิทัล ผลต่อสิ่งแวดล้อมจากการกระทำของมนุษย์: ปัญหาสิ่งแวดล้อม (มลพิษ ประเด็นสิ่งแวดล้อมที่เป็นผลมาจากจุดเปลี่ยนทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การเมือง) การส่งเสริมความเป็นพลเมือง (การศึกษา บทบาทของภาครัฐและเอกชน)
GE349-Geographic Modelling
ระบบและแบบจำลองของระบบ
มโนทัศน์การสร้างแบบจำลองของระบบ ข้อมูลสำหรับการจำลอง รูปแบบทางคณิตศาสตร์ในการจำลองระบบ
แบบจำลองระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การเลือก การสอบเทียบ และการทดสอบแบบจำลอง
SOC111 Cultural Diversity in Changing World
สคศ111 ความหลากหลายทางวัฒนธรรมในโลกยุคเปลี่ยนแปลง 2(2-0-4)
SOC111 Cultural Diversity in Changing World
GE343 - SPATIAL DATABASE MANAGEMENT
ศึกษาข้อมูลภูมิศาสตร์และระบบฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ การออกแบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ การสร้างและการจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ
HI111 Fundamental Knowledge for History Study
ศึกษาพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ พัฒนาการการศึกษาด้านประวัติศาสตร์ องค์ความรู้ และแนวทาวทางการศึกษาประวัติศาสตร์ร่วมสมัย
ZSS08 Natural Disaster (อ.ปริชาติ)
ศึกษาประเภท สาเหตุ การเกิดพิบัติภัยทางธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว ดินถล่ม อุทกภัย คลื่นสึนามิ เป็นต้น การใช้เครื่องมือวัด และกำหนดความรุนแรงของพิบัติภัยการเตรียมพร้อมเพื่อ
รองรับผลกระทบพิบัติภัย กรณีศึกษา
GE322 B02 Geography and Natural Disaster (อ.ปริชาติ)
ศึกษาประเภท สาเหตุ การเกิดพิบัติภัยทางธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว ดินถล่ม อุทกภัย คลื่นสึ
นามิ เป็นต้น การใช้เครื่องมือวัด และกำหนดความรุนแรงของพิบัติภัยการเตรียมพร้อมเพื่อ
รองรับผลกระทบพิบัติภัย กรณีศึกษา
GEO314 B02 Programming for Geographer (อ.ปริชาติ)
การพัฒนาโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
การเลือกใช้โปรแกรมที่เหมาะสม การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
แบบจำลองและการฝึกปฏิบัติข้อมูลเชิงพื้นที่
GE522 Geoinformatis Programming (อ.ปริชาติ)
ตรรกะการเขียนโปรแกรม
การประมวลผลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และการรับรู้ะยะไกล การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่
การประยุกต์การโปรแกรมภูมิสารสนเทศเพื่อการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่
GEO213 B01 Introduction to Geology (อ.ปริชาติ)
ศึกษาลักษณะโครงสร้างของเปลือกโลก แร่และหิน กระบวนการทางธรณีวิทยาที่ส่งผลกระทบต่อมนุษย์ การปฏิบัติธรณีวิทยาภาคสนามเพื่อนักภูมิศาสตร์ การอธิบายปรากฏการณ์เชิงพื้นที่
GE322 B01 Geography and Natural Disaster (อ.ปริชาติ)
ศึกษาประเภท สาเหตุ การเกิดพิบัติภัยทางธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว ดินถล่ม อุทกภัย คลื่นสึ
นามิ เป็นต้น การใช้เครื่องมือวัด และกำหนดความรุนแรงของพิบัติภัยการเตรียมพร้อมเพื่อ
รองรับผลกระทบพิบัติภัย กรณีศึกษา
GEO213 B02 Introduction to Geology (อ.ปริชาติ)
ศึกษาลักษณะโครงสร้างของเปลือกโลก แร่และหิน กระบวนการทางธรณีวิทยาที่ส่งผลกระทบต่อมนุษย์ การปฏิบัติธรณีวิทยาภาคสนามเพื่อนักภูมิศาสตร์ การอธิบายปรากฏการณ์เชิงพื้นที่
GEO314 B03 Programming for Geographer (อ.ปริชาติ)
การพัฒนาโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
การเลือกใช้โปรแกรมที่เหมาะสม การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
แบบจำลองและการฝึกปฏิบัติข้อมูลเชิงพื้นที่