CPE300: Statistics for Computer Engineering
ความรู้ความเข้าใจใน ทฤษฎีความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม
การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องและ แบบต่อเนื่อง
ค่าคาดหมายและโมเมนต์ฟังก์ชั่น การประยุกต์ใช้กับทฤษฎีของความเชื่อถือ
ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่าง การแจกแจงของตัวอย่าง กระบวนการสโทแคสติก การประมาณค่า
การทดสอบสมมติฐาน การถดถอยเชิงเส้นและสหสัมพันธ์ การวิเคราะห์ความแปรปรวน
การประยุกต์สถิติกับงานทางด้านวิศวกรรม และการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการคํานวณหาค่าผลลัพธ์ทางสถิติ
PMT344 UNIT OPERATIONS OF POLYMER PRODUCTION LABORATORY
ปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายเทมวล ความร้อน และโมเมนตัม เฉพาะหน่วยในการผลิตพอลิเมอร์
CPE 201 Computer Programming
ความรู้ความเข้าใจหลักการของระบบและส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์การทํางาน
ร่วมกันระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูล การออกแบบและวิธีพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การกําหนดชนิดของ
ตัวแปร นิพจน์ประโยคควบคุม ฟังก์ชันและการส่งผ่านพารามิเตอร์ อาร์เรย์พอยน์เตอร์การ
เรียงลําดับและการค้นหา โครงสร้างข้อมูล แฟ้มข้อมูล การฝึกปฏิบัติการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใน
การแก้ตัวอย่างโจทย์ปัญหาทางด้านวิศวกรรม
Optical Communications
ท่อนำแสงแบบไดอิเล็กทริกทรงกระบอกและเงื่อนไข การแพร่กระจายของคลื่น
โครงสร้างและชนิดของเส้นใยนำแสง พารามิเตอร์ของเส้นใยนำแสง การผลิตเส้นใยนำแสง
ชนิดเคเบิ้ลเส้นใยนำแสง การผิดเพี้ยนของสัญญาณในเส้นใยนำแสง แหล่งกำเนิดแสง เทคนิคการมอดูเลชัน
ตัวตรวจรับสัญญาณแสง เครื่องรับสัญญาณแสง การเสื่อมของสัญญาณ การลดทอนสัญญาณ
การกระจายของสัญญาณ ระบบการส่งสัญญาณร่วมสื่อในการเชื่อมโยงเส้นใยนำแสง
แนะนำระบบสื่อสารเส้นใยนำแสงระดับใกล้ (FTTX) การทวนสัญญาณและการขยาย
อุปกรณ์ทางแสง การคำนวณค่าใช้จ่ายของการเชื่อมโยงทางแสง
CPE 103 Computer Programming
ความรู้ความเข้าใจหลักการทำงานของระบบและส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์เบื้องต้น การทำงานร่วมกันระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาการประมวลผลข้อมูล การใช้ผังงานออกแบบโปรแกรมประยุกต์และวิธีพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โครงสร้างภาษาสำหรับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การกำหนดตัวแปรและข้อมูล การใช้งานตัวดำเนินการกับตัวแปรข้อมูล การใช้งานกลุ่มคำสั่งควบคุม การใช้งานกลุ่มคำสั่งวนรอบการกำหนดตัวแปรข้อมูลแบบกลุ่ม การกำหนดตัวแปรข้อมูลสำหรับชี้ตำแหน่งหน่วยความจำ การกำหนดตัวแปรโครงสร้างข้อมูล การกำหนดฟังก์ชันย่อย การเขียนโปรแกรมระบบแฟ้ม ข้อมูล การฝึกปฏิบัติการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการแก้ตัวอย่างโจทย์ปัญหาทางด้านวิศวกรรม
CHE311 Chemical Engineering Thermodynamic I
นิยามพื้นฐานทางอุณหพลศาสตร์ กฎทางอุณหพลศาสตร์ข้อที่ 1 และ ข้อที่ 2 วัฏจักรคาร์โน ความร้อนและพลังงาน เอนโทรปี หลักการการถ่ายเทความร้อนเบื้อองต้นและการอนุรักษ์พลังงาน
BME233 Electrical and Electronics Engineering
ศึกษาทฤษฎีพื้นฐานของวงจรไฟฟ้า กฎของโอห์ม กฎของเคอร์ชอฟฟ์ การวิเคราะห์โหนด การวิเคราะห์เมซ ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน อุปกรณ์ที่เก็บพลังงานได้ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ เครื่องจักรกลกระแสตรงและกระแสสลับเบื้องต้น หม้อแปลงไฟฟ้าเบื้องต้น ไดโอดในอุดมคติ ไดโอดแบบหลอด แบบสารกึ่งตัวนำ แบบซีเนอร์ แบบทันเนล แบบกำลัง แบบแวริแคป และระบบโฟโต พร้อมทั้งการใช้งานของเทอร์มิสเตอร์ แวริสเตอร์ แรคติไฟเออร์ และฟิลเตอร์ ทรานซิสเตอร์ การไบแอสวงจรด้วยไฟตรงแบบต่างๆ การวิเคราะห์วงจรแบบสัญญาณขนาดเล็ก คุณสมบัติของเฟต และการใช้งานวงจรขยายสัญญาณระบบต่างๆ ผลตอบสนองความถี่ ระบบแบบหลายสเตจ รวมถึงการอธิบายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. ดร. ฑีฆพันธุ์ เจริญพงษ์, “เอกสารประกอบการสอนวิชา วศช 131 วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์”, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2. David E. Johnson, Johnny R. Johnson, John L. Hilburn and Peter D. Scott, “Electric circuit analysis”, John Wiley & Sons, Inc., 3th Edition, 1999.
3. Charles K. Alexander and Matthew N.O. Sadiku, “Fundamental of Electric Circuits”, McGraw Hil, 2nd Edition, 2004.
4. William D. Stanley, “Principles of Electronic Devices”, Prentice-Hall, Inc., 1995.
5. Peter F. Ryff, “Electric Machinery”, Prentice-Hall, INC., 2nd Edition, 1994
6. ผศ.ดร. อัมพวัน จุลเสรีวงศ์, “วงจรไฟฟ้า 1”, คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2550
BME424 Computer Vision
วศช424 |
|
การมองเห็นทางคอมพิวเตอร์ |
3 (3-0-6) |
BME424 |
|
Computer Vision |
|
แนวคิดพื้นฐานในการมองเห็นของคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของภาพ การเกิดขึ้นของภาพ การตรวจจับขอบขอบภาพ การตรวจจับลักษณะเด่นภายในภาพ การแยกแยะภาพ ภาพสามมิติ การหาระยะภาพโดยการใช้ภาพสเตอริโอ การสร้างภาพสามมิติ และการวิเคราะห์ภาพเคลื่อนไหว การประยุกต์ใช้กับงานวิจัยในปัจจุบัน
BME444: Artificial Neuron Systems (2021-01)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้นิสิตเข้าใจทฤษฎีระบบประสาทเทียม สำหรับใช้เป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรม และสามารถประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมการแพทย์ได้
เนื้อหาที่เรียน
แนะนำโครงข่ายประสาทเทียม ประเภทของโครงข่ายประสาทเทียม หลักการในการจดจำรูปแบบของโครงข่ายประสาทเทียม กระบวนการเรียนรู้และอัลกอริทึม อัลกอริทึมแบบแพร่กระจายย้อนกลับ การประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียมในงานวิศวกรรมชีวการแพทย์
CPE220 DATA STRUCTURE AND ALGORITHMS
ทบทวนคณิตศาสตร์สำหรับการออกแบบและวิเคราะห์อัลกอริทึม โครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น การจัดลำดับ การจัดการกลุ่มข้อมูล การออกแบบอัลกอริทึมโดยใช้กราฟ การจับคู่เปรียบเทียบสายอักษร ปัญหา NP สัมบูรณ์
ME212 ENGINEERING MECHANICS I (2-2564)
การศึกษาระบบแรง การสมดุลในสองมิติและสามมิติ การหาแรงลัพธ์ โครงสร้าง
โครงและเครื่องจักร ผลของแรงภายนอกและภายในต่อคาน สายเคเบิล ความเสียดทาน
ศูนย์กลางมวล เซนทรอยด์ โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่
เสถียรภาพของระบบ หลักการของงานเสมือนจริง บทนำสู่พลศาสตร์วิศวกรรม
CHE282 CHEMICAL ENGINEERING LABORATORY TECHNIQUE II
ฝึกฝนการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์พื้นฐานในห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมี
เช่น การหาความร้อนการละลาย การหาปริมาณคลอไรด์ในน้ำ การหาปริมาณเหล็ก
การวิเคราะห์บีโอดี การวิเคราะห์ซีโอดี
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ด้วยเครื่องสเปกโตโพโตมิเตอร์ เครื่องวิเคราะห์อะตอมมิกแอปซอบฃัน
เครื่องวิเคราะห์แก๊สโครมาโตรกราฟฟี เป็นต้น อย่างน้อย 10 ปฏิบัติการ
Endnote for CHE391 Project Seminar
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนบทคัดย่อ
บทความ และหัวข้อโครงงานวิศวกรรม ให้นิสิตค้นคว้าเรื่องที่น่าสนใจจากรายงานต่างๆ
ทางด้านวิศวกรรมเคมี เพื่อแสดงออกทางความคิดทางด้านเทคนิค และฝึกพูดในที่สาธารณะ
ทำการรวบรวมค้นคว้า ข้อมูล และอภิปรายเป็นกลุ่มย่อยเพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหา
โดยเน้นการนำเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่ม การนำเสนอให้นำเสนอเป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย
1 ครั้ง
CHE461 POLYMER SCIENCE AND TECHNOLOGY
โครงสร้างและสมบัติเบื้องต้นของพอลิเมอร์ ที่มาของพอลิเมอร์ การหาน้ำหนักโมเลกุลของพอลิเมอร์ การสังเคราะห์พอลิเมอร์ กระบวนการพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่างๆ จลน์ศาสตร์ของปฏิกิริยาการสังเคราะห์พอลิเมอร์ สถานะของพอลิเมอร์ สัณฐานวิทยา สมบัติทางความร้อนและสมบัติเชิงกลของพอลิเมอร์ สารเติมแต่งในพอลิเมอร์ กระบวนการผลิตพลาสติก เทคโนโลยีที่ใช้ในการขึ้นรูปพลาสติก
ME221: Mechanics of Materials_2-2563
Force and Stresses; Stresses and Strains relationship; Stresses in Beam, Shear Force and Bending Moment Diagrams; Deflection of Beams, Torsion; Bucking of Columns; Mohr’s and combined Stresses; Failure Criterion
BME312 : THERMOFLUIDS
คุณสมบัติของของไหล สมการการไหลแบบต่อเนื่อง
รูปแบบการไหล การกระจายความดันในของไหล ไฮโดรสแตติกเพรสเซอร์
การกระจายแรงดันบนวัตถุแข็งเกร็งซึ่งเคลื่อนที่ในของไหล กลศาสตร์ของไหล
การไหลของของไหลในระบบท่อ การไหลแบบยูนิฟอร์ม ความหนืดของของไหล การถ่ายเทความร้อน
การไหลที่มีกี่ถ่ายเทความร้อน การไหลทั่วไปในหนึ่ง สอง และสามมิติ
CHE314 Mass Transfer
ทฤษฏีพื้นฐานและกลไกของการถ่ายเทมวล ปรากฎการณ์การถ่ายเทมวลและความร้อนพร้อมกัน
หลักการและการออกแบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการถ่ายเทมวล การกลั่น การสกัด
การดูดซับและการดูดซึม